อำเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทองสันนิษฐานว่าเป็นวัดในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย มีพระพุทธรูปทองเหลืององค์ใหญ่นามว่า สมเด็จพระพุทธนวโลกุตร หรือ สมเด็จพระศรีเมืองทอง องค์ขนาดใหญ่
อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทองสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ได้ขึ้นมาสร้างพระพุทธรูปปางสมาธิองค์ใหญ่ หลังจากหลวงพ่อโตชำรุดเสียหาย มีการสร้างพระมหาพุทธพิมพ์ ประดิษฐานอยู่ในพระวิหาร
อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทองตามประวัติเล่าว่า พระนเรศวรมหาราชและพระเอกาทศรถ ได้ทรงยกทัพมาตั้งรับกองทัพพม่าที่บ้านสระเกษและทรงได้รับชัยชนะ จากนั้นได้สรงน้ำชำระพระวรกาย ล้างพระพักตร์ และสระพระเกศา ณ ที่นี้ จึงเป็นที่มาของชื่อ วัดสระเกษ
อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทองเป็นพระนอนหรือพระพุทธไสยาสน์ที่ยาวเป็นอันดับที่สอง รองจากพระนอนที่ยาวที่สุดในประเทศไทย สันนิษฐานมีความเห็นว่าได้สร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา
อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทองเดิมทีวัดม่วงเป็นวัดร้าง สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยกรุงศรีอยุธยา เดิมทีวัดม่วงเป็นวัดร้าง เมื่อกรุงศรีอยุธยาได้เสียกรุงให้แก่พม่า พม่าได้เผาผลาญบ้านเมือง วัดวาอาราม และพระพุทธรูปไปเป็นจำนวนมาก เหลืออยู่เพียงซากปรักหักพัง
อำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทองเดิมที่แห่งนี้สันนิษฐานว่าเป็นที่ปั้นเผาอิฐเพื่อนำไปก่อสร้างวัดขุนอินทประมูล เรียกว่าท่าขนอิฐ เป็นที่มาของชื่อ วัดท่าอิฐ
อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทองเป็นวัดเก่าแก่ที่อยู่มานาน วัดคูมะนาวหวาน มีเกจิอาจารย์หลายๆท่านที่ผู้คนให้การนับถือและศรัทธา และยังมีหลวงพ่อวัดคู เป็นที่สักการะบูชาของผู้คน
อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทองเดิมตั้งอยู่ใกล้กับแม่น้ำเจ้าพระยามากเกินไป จึงย้ายวัดไปหาที่ตั้งวัดขึ้นมาใหม่ ณ ที่ตั้งของวัดโบสถ์ ซึ่งเป็นวัดร้างแห่งหนึ่งซึ่งอยู่ไม่ไกลจากที่เดิม
อำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทองสร้างขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่อนุชนรุ่นหลังของชาวเมืองวิเศษไชยชาญ ย้ำเตือนความทรงจำให้ระลึกถึงบรรพบุรุษ 400 คน ที่พลีชีพและปกป้องแผ่นดินจนเสียชีวิต
อำเภอไชโย จังหวัดอ่างทองสร้างขึ้นสมัยกรุงศรีอยุธยา ปี พ.ศ. 2319 เดิมเรียกวัดนี้ว่า วัดอินทราราม มีพระพุทธรูปก่ออิฐถือปูน เรียกกันว่า หลวงพ่อขาว มีงานนสัสการปิดทองหลวงพ่อขาว 2 วัน 2 คืน ในช่วงระหว่าง 10 - 20 มีนาคม ของทุกปี